รายงานประชุม





ประชุม PCT ระบบยา 
8 ต.ค. 56
วาระที่ 1เรื่องแจ้งที่ประชุมเพื่อทราบ
1.1 ทบทวนข้อตกลงการปรับเปลี่ยนระบบยาจาก unit dose-one day dose
ปัญหา
1.       ทางกายภาพ ซองยาที่ไม่สมบูรณ์ (สถิติ)
2.       ส่งยาไม่ได้ตรงตามเวลาทุกวัน (Risk)
3.       Work load จาก med Error (ภาระงาน Productivity)
4.       ผู้ป่วยอาจไม่ได้ยาจริง(สถิติ) ลอกยาไม่มี PRN
ผลกระทบ
1.       พยาบาลรับมอบยาช้า
2.       การเวชระเบียนบนคอมพิวเตอร์
ข้อดี
1.       ลดการสะสมยา
2.       ลดระยะเวลาการรอคอยของผู้ป่วย D/S
3.       ระบุฉลากยาที่สมบูรณ์
4.       เพิ่มเวลาในการตรวจสอบยาของเภสัชกร
5.       กระบวนการส่งมอบยาของพยาบาล
6.       เพิ่มความปลอดภัยด้านการใช้ยา
Ward
1.ถ้าลอคยาตกกระจายจะรู้ได้ไงว่าเป็นอย่างไร
2.ได้รับยาช้า
3.เจ้าหน้าที่ในตึกผู้ป่วยไม่เห็นด้วยในเรื่อง One day dose ประเด็นการ dubble check, ได้รับประทานยาเร็วขึ้น
นายแพทย์โสมนัส
1.       องค์กรต้องสร้างความมั่นใจในการจัดยาให้เหมาะสม
2.       การถ่ายทอดการสั่งยา/การคัดลอกยา
3.       การทบทวนคำสั่ง พยาบาล เจ้าพนักงานเภสัช เภสัชเช็คอีกครั้ง
4.       เภสัชส่งมอบยา
ประเด็น/การแก้ไข (3 เดือน)
1.       การ Cross Check ไม่เกิด/ward
2.       การ Dubble เช็คยา จากกระดาษสีชมพู/ward
3.       การแจกยาการแกะมาใส่ถ้วยต่อหน้าผู้ป่วย/ward
4.       Lean ระบบเก่าก่อนแล้วเข้ามาทำระบบใหม่/สามารถนำไปใช้ R2R , CQI
วาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ
          4.1 ร้องเรียนจากผู้รับบริการมาตอน 12.00 น. ไม่มีเจ้าหน้าที่อยู่ อยากให้มีการบริการช่วงกลางวัน แต่ระบบที่วางไว้ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ER 24 ชม.  OPD ลงเวร 12.00 น. ห้องยามีตอน 12.00
ปัญหา การสื่อสาร

แนวทาง ควบคุมกำกับดูแลเจ้าหน้าที่ในการสื่อสาร


การประชุม IM ลงข้อมูล 43 แฟ้มที่ รพ.นางรอง
29 ต.ค.56









ประชุมคณะกรรมการงานแม่และเด็กคปสอ.กระสัง 
31 .. 56

วาระที่1 ประธานแจ้งให้ทราบ
1.       แต่งตั้งคณะกรรมการ รพ.หัวหน้าหน่วยงาน / รพ.สต.หัวหน้าเป็น ผอ.รพสต.,คณะพัฒนางานเป็นผู้รับผิดชอบ
2.       สรุปตัวชี้วัด 
3.       ห้วยราชเป็นศูนย์การรับ consult unwanted preg จากการแต่งตั้งจากเขตนครชัยบุรินทร์
วาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
1.       LR-Still birth, Anemia,
2.       ANC การลงผล Labการนับเด็กดิ้น,
3.       BBA จัดทำโครงการฟื้นฟูการการทำคลอดแก่เจ้า หน้าที่ รพ.สต.
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่แล้ว
          -
วาระที่ 4 เรื่องแจ้งเพื่อทราบและพิจารณาการดำเนินการ
1.       สรุปตัวชี้วัดงาน ANC , ANC ไม่ติดตาม Hep b typing
2.       สรุปรายงานอนามัยแม่และเด็ก
3.       แนวทางการ ANC แนวใหม่  
4.       แนวทางการส่งหญิงตั้งครรภ์มาเข้าโครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย strip 39+5-40 wk จันทร์-พุธ


การประชุม DHSและ HHC 
คปสอ.กระสัง 
1 พ.ย. 56
วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ทราบ
ที่มา การมาศึกษาดูงานของประธานมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ สวธส.ศึกษาดูงาน DHS
1.       ระบบสุขภาพ
2.       คน
3.       ทรัพยากร
4.       สถานบริการใกล้บ้าน
5.       ประชากรมีส่วนร่วม
เรื่องเด่น
1.       การฉีกตัวชี้วัด งานพี่เจ๊ยบ
2.       การทำงานอิสระ กุ้ง
3.       Service plan เจ๊สุ
ตอบคำถามปัญหาการดำเนินงาน (Review system)
1.       การเยี่ยมบ้าน
  • OPD จะเยี่ยมผู้ป่วยแต่ละคลินิกตามวันที่เปิดให้บริการ เช่น คลินิกจิตเวชเยี่ยมวัน  จันทร์บ่าย คลินิกเบาหวานเยี่ยมอังคารบ่าย ,คลินิกหอบหืดเยี่ยมบ่ายวันพุธ ,ไต    วายเยี่ยมบ่ายพฤหัส แต่ละทีมจะมีทะเบียนของตัวเอง
  •  ชุมชน รพสต ไม่มีทีมสหวิชาชีพร่วมเยี่ยม ยกเว้น รพ.สต.กันทรารมย์ เยี่ยมบ้าน ทุกสัปดาห์ แบ่งงานกัน ทุกวันพุธ หลังคลอด , จิตเวช,ผู้พิการ , Stroke รพสตใน จนท4 คนและ empowerment ผู้ป่วยจนกระทั่งสามารถดูแลตัวเองมีอาชีพ ยกตัวอย่าง case ที่สามารถประสบความสำเร็จ
  •   Ward 1 HHC บาง Case จากความเห็นของแพทย์ และจากความเห็นของพยาบาล ปี 2556 HHC 50 รา
  •  กายภาพ ติดต่อช่องทางการเยี่ยมทางโทรศัพท์ ,Face book กายภาพบำบัด รพ.กระสปีงบ 2556 เยี่ยมได้90 ราย เสียชีวิต 30 ราย  ADL ระดับปกติ ,การประสานทีมรพ.สต.ไม่ค่อยได้ประสาน กลุ่มที่เยี่ยม เป็นกลุ่มที่ทางเราดูแลเอง stroke ดูแลได้ครอบคลุม ,ส่วนทางด้านคลินิกต่างๆ ตามเยี่ยมเอง
2.       ตัววัดในการเยี่มบ้านของ PCT คือ Stroke, Bed sore, Re-admit 28 วัน, CA, การรักษาเสี่ยง   ต่อฟ้องร้อง โดยมีการประสานงานร่วมกับกลุ่มงานเวชปฏิบัติ
3.       การขยายการดูแลต่อเนื่องร่วมกับชุมชนแบบภาคีย์เครือข่ายโดย
  •           กลุ่มจิตอาสามิตรภาพบำบัด การจัดกลุ่มมะเร็ง 
  •           จิตเวช การดูแล  Empowerment 
  •           การจัดกลุ่มการเยี่ยมผู้ป่วยหลัง Admit  เริ่มทำที่ ต.ลำดวน 
  •           การรับส่งผู้ป่วย DM รับยาที่ รพ.
  •           การเยี่ยมผู้ป่วยไตวายเหลือการสะท้อนข้อมูล
  •           DM poor control ต้องเยี่ยม ขาดการประสานงานกับ รพ.สต. อสม.เป็นภาคีย์เครือข่ายการใช้งานแพทย์วิถีธรรม
  •           การทำ MOU ในเรื่อง สุรา,บุหรี่การทำ MOU งาน IC


4.       การประสานข้อมูล การประสานข้อมูลระหว่างเจ้าหน้าที่และ care giver  
  •       ward 2 ใช้การสอบถามข้อมูลเก่าและถามข้อมูลญาติที่ใช้ในการดูแลเพื่อประเมินส่วนที่ขาดทักษะเพื่อประสานงานระหว่างทีมสหวิชาชีพในการช่วยเหลือสอนทักษะด้านต่างๆ 
  •           การสื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ด้วยกันด้วยการใช้แบบฟอร์มเดียวกัน


5.       แรงจูงใจในการดูแลต่อเนื่อง
  •           การดูแลตามหน้าที่แบบเต็มความสามารถ
  •           ใช้หลักวิถีธรรม
  •           ใช้หลักแนวคิดของ นพ.โกมาศ งานคือความสุขในการให้
  •           การเห็นคุณค่าของตัวเองและทีมงาน
  •           บรรยากาศระหว่าง รพ.และ สสอบรรยากาศที่ดี ในการทำงาน MOU งาน IC


6.       ยุทธศาสตร์ของ DSH  อยู่ที่นโยบายของผู้บริหาร ใช้การสื่อสารด้วยกิจกรรมการดูแลที่ต่อเนื่องและการสร้างเครือข่ายการทำงานในแต่ละพื้นที่
Analysis
1.       ต่างละทีมที่มีข้อมูลการเยี่ยมแล่ไม่ส่งข้อมูลศูนย์ HHC
2.       การประสานงานระหว่างทีมน้อย
3.       ไม่ได้สะท้อนกลับข้อมูลสู่หน่วยงานที่ส่งเยี่ยม
โอกาสพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1.       การแยกงาน HHC, Home visit และการจัด Home ward  มีระบบ Admit , D/C  ทำระบบในชุมชน
2.       สะท้อนข้อมูลย้อนกลับ(น่าจะมีการกำหนดร่วมกันระหว่าง รพ.สตจอย ร่วมกับทาง Clinic)
3.       การวัดผลประเมินคุณภาพชีวิตADL,การบำบัดความปวด, ประเมินความพึงพอใจชุมชน
4.      การประสานงานกับ รพ.สต., การสะท้อนกลับของข้อมูล,การจัดทำทะเบียนเยี่ยมบ้านขอรายงาน  ทุกสิ้นเดือนส่งศูนย์ HHC กายภาพบำบัด
5.       การจัดทำคณะกรรมการผู้ร่วมดำเนินการระดับอำเภอ ,การประชุมทุก 3 เดือน
6.       การส่งต่อข้อมูลระหว่าง รพ.และ รพ.สตโดยใช้ Hos-xp ทำได้แต่ต้องขอ password ก่อน
7.     การจัดทำ Gide line ยาและการส่ง Lab ระหว่าง รพ.สตและ รพดูแต่รายโรคเรื้อรัง /(พี่พยอม จัดทำแนวทางให้)
8.       การประเมินความพึงพอใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเมินทุก 6 เดือน (พี่เจี๊ยบรับผิดชอบ)
9.       การดูแลพบแพทย์ที่ OPD ของเจ้าหน้าที่ ให้คิวแดง การตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่ รพ.สต.


การประชุม PCT งานโรคเรื้อรัง 
8 พ.ย.56
วาระที่ประธานแจ้งให้ทราบ/หารือ
รพ.ขาดดุลงบประมาณมาก 16,000,000 ขาดดุลย์งบประมาณมากที่สุดคือ Lab 148 % 7,800,000
การวิเคราะห์ปัจจัย
          1.ห้องปฏิบัติการสั่งซื้อของยังไม่มีการกำหนดราคากลางที่ชัดเจน มีรายการตรวจดังนี้
                   - HbA1C ราคาแพงกว่าที่อื่น
                   - น้ำยาตรวจ Coacgulolation test  ราคา  221,900 บาท
                   - เพิ่มการตรวจ Calcium, Magnesium และ Phospgorus ในปี 2556 
        2.คลินิกโรคเรื้อรังสั่งตรว Lab ปี 2556 พบการสั่งตรวจ 100,000 ครั้ง ซึ่งเพิ่มมากกว่าปี  2555 กว่า 7,000 ครั้ง
แนวทางการสั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.   การสั่งตรวจ Lipid profile ควรสั่งตรวจแต่ละตัว การตรวจ LDL direct ตัวเดียว 
   ราคา 105 บาท/test จะตรวจเมื่อ Triglyceride ค่าเกิน 400 mg/dl แต่ถ้าสั่งตรวจ Lipid profile + LDL(cal) จะตรวจในราคา 81 บาท/test ซึ่งต่างกัน 24 บาท/test  (กรณีที่เป็นโรคและได้รับการรักษาจะตรวจคัดกรอง ปีละ ครั้ง)
2. การสั่งตรวจ electrolyte ค่าตรวจ 65 บาท ถ้าต้องการ repeat electroyte ควรสั่งตรวจแยก เช่น Potasium จะคิดราคากับคนไข้ลดลงและทำให้ประหยัดน้ำยาในการตรวจ
3. การสั่งตรวจ liver function test ควรสั่งตรวจแยกเฉพาะตัว เช่น AST ALT จะทำให้ราคาตรวจลดลงและประหยัดน้ำยา
4. การสั่งตรวจ Bun,Creatinine ให้มีการตรวจคัดกรองปีละ 1 ครั้ง ตามแนวทางจังหวัด (แต่ถ้าไม่สั่ง Bun จะประหยัด 18บาท)
5.  จำนวนผู้ป่วย DM 1,407คน
                      Dm+HT 750 คน
                      HT 2,616 คน
     คิดราคาตรวจคัดกรองทั้งหมด
  5.1.   ราคาตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรค DM คนละ 1 ครั้ง=335 บาท (เจาะเลือดตรวจ  HbA1C, , DTX, Triglyceride, Cholesterol , HDL-Chol, LDL , BUN, Creatinine,eGFR, UA , urine  microalbumin) 
คิดราคาทั้งหมดคือ
­          จำนวนผู้ป่วย DM      1,407 คน x335บาท = 471,063.6 บาท
­          บวก DTX 6 ครั้ง x 8.25 บาท (DTX 1 ครั้ง)=384.3 บาท 
             (ถ้าตรวจ FBS 7.50 ต่างกัน 0.75บาท เฉพาะค่าน้ำยาตรวจ) 
­                                                                      384.3x1, 407 = 540,710.1 บาท
­          จังหวัดดึงแค่ HbA1C, ตรวจตา-ตรวจเท้า, Lipid profile , LDL, urine  microalbumin, Creatinine  
             (ตัด BUN, UA ประหยัด 46,431 บาท)
5.2   ราคาตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรค DM+HT+DTX 6ครั้ง (เจาะเลือดตรวจ  HbA1C,DTX, Triglyceride, Cholesterol , HDL-Chol, LDL , BUN, Creatinine,eGFR, UA , urine  microalbumin และ Uric acid )
                                   ผู้ป่วย 750 คน x 355.3บาท = 266,475 บาท 
        (ถ้าตัด BUN, Uric acid ประหยัด 28,125 บาท ) 
5.3   ราคาตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรค HT (เจาะเลือดตรวจ BUN,Creatinine,eGFR, Lipid profile , uric acid, Hct ,FBS ,UA)
                                   ผู้ป่วย 2,616 คน  x160 บาท = 418,400 บาท
                       ( ตัด BUN, uric acid ประหยัด 98,062.65)
ในรพ.สามารถประหยัดได้ถึง 1,136,326.1-172,618.5=963,707.6
5.4  การส่งตรวจโรคเรื้อรังของ รพ.สต. ผู้ป่วย DM จะตรวจ urine microbumin ส่วนผู้ป่วย HT จะตรวจ urine albumin และถ้าผู้ป่วย DM+HT จะตรวจทั้ง urine microbumin และ urine albumin
5.5  ANC ถ้ามีผล Hb typing ต้องตรวจสามีคนที่2 อีกครั้ง , ครรภ์ที่2 ถ้าสามีไม่เคยตรวจ Hb typing ต้องตรวจ แต่ไม่ตรวจสามีซ้ำในกรณีภรรยา OF/DCIP= Negative 
     การตรวจ OGTTจะตรวจตามแพทย์สั่ง
     ท้องหลังตรวจ ANC-1 ใหม่ แต่ไม่ตรวจ Hb typing ซ้ำ
         คิดราคาตรวจ
             OF 15 บาท/test + DCIP 18.19 บาท/test X 900 คน=29,871 บาท
  
5.6.  Coacgulolation test( PT,APTT,INR) ลงทุน 221,900 บาท คนไข้ 20 คน
5.7.  ผู้ป่วย CKD 200 คน สั่งตรวจ Elyte , Bun, Creatinine,eGFR,CBC,calcium    Magnesium, Phospgorus และ serum albumin
5.8.  พยาบาลสั่งตรวจ Lab เฉพาะ CBC, UA เท่านั้น ส่วนของ ER ให้รองเลือดไว้ เผื่อ 2 tube คือ CBC และ Clot blood Tube(แดง) , ER สั่ง Elyte มากเกินความจำเป็น , การสั่งตรวจจากOPD ในดูใบ requested
5.9   การตรวจ CBC ในปี 2555-2556 สูงขึ้น 
       ปี 2555 ค่าน้ำยาตรวจ CBC เท่ากับ 523,232 บาท
       ปี 2556 ค่าน้ำยาตรวจ CBC เท่ากับ 723,098 บาท
       เพิ่มขึ้นจากปี 2555 เท่ากับ 199,866 บาท เนื่องจากอุบัติการณ์ไข้เลือดออกปี 2556 เพิ่มมากขึ้น
5.10  การตรวจThyroid function tes (T3,T4,TSH) ควรเจาะทุก 6 เดือน 
       ผู้ป่วยประมาณ Thyroid100 คน,
5.12 งานวิจัย Lepto จะเจาะเลือดตรวจเฉพาะ Bun,Creatinine ในวันที่ 1,2 และ 7  ส่วนอุึปกรณ์การเจาะเก็บเป็นของงานวิจัย
              5.13   HIV ได้กำไร 56,488 บาท
                     5.14  การสั่งซื้อเข็มเจาะปลายนิ้วจาก lancet ธรรมดามาเป็น lancet ที่ใช้ปากกาเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการ เริ่มจัดซื้อในปี 2556 คิดเป็นเงิน 59,445 บาท



การประชุม PCT 
13 พ.ย.56
วาระที่1 ประธานแจ้งให้ทราบเรื่องตัวชี้วัดของหน่วยงานต่างๆ
ปี 2557 อัตราค่ารักษาต่อหัวประชากร ขาดทุน 14,000,000 บาท งบประถมภูมิไม่ได้ตามเกณฑ์
  1.           ANC 12 wk. , 5 ครั้ง น้อย ขาดทุนเพราะคนเยอะ
  2.           OP visit 
  3.           DM A1C
  4.           การส่งต่อ
  5.           Service plan
  6.           การใช้ยา URI, AGE ได้รับ ATB เกิน 
  7.          อัตราเวชระเบียน
  8.           STEMI
  9.          STOKE ไม่ได้วัดการให้ยา วัดการเยี่ยม
  10.           CA ในรูป palliative care
  11.           การตายทารกแรกเกิด
  12.           จิตเภท การเข้าถึงบริการ
  13.           บุหรี่ ทำได้เยอะแต่ไม่ได้ลงข้อมูล
  14.           ค่าใช้จ่ายสูง Leukemia , palliative care
  15.           Asthma, COPD ได้กำไร แต่ Re-admit สูง
  16.           HIV ได้กำไร
  17.           ระยะเวลารอคอยน้อยกว่า 1 ชม 30 นาที
  18.           Bed sore
  19.           Thrombophlebitis
  20.           Birth asphyxia
  21.           PPH ยังมากกว่าตัวชี้วัด
  22.           Re-admit COPD สูง
  23.           การติดเชื้อในรพ
  24.           ความคลาดเคลื่อนทางยามาก
  25.           แพ้ยาซ้ำ
  26.        ความพึงพอใจใน-นอกลดลงเพราะประเมินปีละครั้งและผู้ป่วยนอกถึงแยกคลินิกแต่แน่นที่คลินิกเหมือนเดิม
  27.           DM เฉียบพลัน Hyper-Hypo
  28.           HT Lab อัตราคัดกรองภาวะแทรกซ้อน HT Re-admit มาก
  29.           DHF 11 case 1.02% ข้อมูลไม่สอดคล้องกับระบบ hos-exp ที่ดึงจาก last dx
  30.           HIV  CD4 ตรวจไม่ครบจากไปทำงานที่อื่น รับยาครบ
  31.           TB รักษาหายได้ตามตัวชี้วัดแต่รายใหม่เป็นใหม่มากขึ้น
  32.           Asthma, COPD Readmit สูง ทำรายได้สูง
  33.           AMI ไม่ตาย AMI refer
หมายเหตุ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์พิมพ์สีเหลือง
เสนอตัวชี้วัดเข้าใหม่
1.       จิตเวช 
2.       บุหรี่
การ Refer OPD case 5 อันดับ
1.       Stroke
2.       Senile Catalex
3.       Catalex
4.       Obstructed labor due to fetopelvic disproportion
5.       Acute appendicitis
การ Refer IPD case 5 อันดับ
1.       Obstructed labor due to fetopelvic disproportion
2.       Septic shock
3.       Severe pre-eclampsia
4.       Urinary tract infection,unspeicfied
5.       Bacterial pneumonia 
เข็มมุ่งปี 2557 สำเร็จได้ใน 6 เดือน
1.       ACUTE เรื่อง STROKE น้อย,ต้น รับผิดชอบ , Ward D/C plan ส่ง HHC
2.       Chronic DM, HT พี่พยอมรับผิดชอบ,COPD admit สูง พี่นางรับผิดชอบ สุรา ปุ๊กรับผิดชอบ
3.       ANC Teenage preg  อรรับผิดชอบ ANC ,Teen Care  ส่งต่อ รพ ห้วยราช
4.       โรคระบาด,โรคติดต่อไข้เลือดออก เมลิออยด์ เหนียงรับผิดชอบ
วาระที่2 เรื่องอื่นๆ
1.       พี่ยอมการ HHC  เยี่ยมที่ละทีม สิ้นเปลืองงบประมาณ?
2.       HT  ทำโครงการให้ผู้ป่วยวัด BP ที่บ้าน 4 ครั้ง/เดือน 200 คน ก่อนมาปรับยา
3.       ต้น HHC ศูนย์ อยากให้แต่ละทีมเยี่ยมกันเอง
4.       เจ๊สุน HHC ประสานกับทางท้องถิ่นช่วยออกเยี่ยมได้
5.       ติ๊ก Home ward  น่าจะคิดเกณฑ์ให้ชัดเจน ควรจะประสานทีมสหวิชาชีพในการเยี่ยม
6.       หมอโหน่ง สรุป ให้ประชุมกันในทีมก่อน
7.       เภสัชกุ้ง เน้นการบันทึก
8.    อร การ Care หญิงตั้งครรภ์ ไม่ได้ตามการเยี่ยมหญิงหลังคลอด GDM1 (อรจัดทำแนวทางให้หมอช่วยดูก่อน)
9.       หมอโหน่งการตาม Round ในตึกผู้ป่วยใน
10.   การทำ Gland round 1 ครั้ง / สัปดาห์ หมอเบนส์
11. หมอโหน่งห้องเรียนคุณภาพจะเป็นสหวิชาชีพน่าจะรวมกับวิชาการองค์กรพยาบาลแต่การประชุมวิชาการตั้งแต่บ่ายโมง ดังนั้นแยกเหมือนเดิม
12.   เน้นการเขียน Clinical Risk เพราะตามหน่วยงานส่งมาน้อย 
13.   พี่น้อย หลังไปอบรมควรจะมีเวทีให้เจ้าหน้าที่นำเสนอ กุ้ง กลับจากประชุมให้สรุปเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้ให้ฝากข้อมูลไว้ที่ศูนย์คุณภาพ
14.   จอย มีการจัดรณรงค์เรื่องการแข่งขันลด นน 
15.   การเพิ่ม clinical tracer highlight 5 เรื่อง แพทย์วิถีธรรม , จิตอาสา 
16.   รุจ ถ้ามีคนไข้ที่แพทย์ admit อยากขอให้แพทย์วิถีธรรมเข้าไป หมอโหน่งเสนอให้เข้าไปทำเชิงรุก
17.   พี่น้อยเสนอวิชาการงานวิจัย หมอโหน่งให้นำเสนอในเวที HA อีกรอบ





ประชุมการเบิกจ่ายค่ารักษาผ่าน Eclam 
18 พย. 56





การประชุมเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
21 พ.ย.56

การประชุม HA
22 พ.ย.56

  1. ผู้อำนวยการกล่าวนโยบาย
  2. มอบรางวัลมหกรรม CQI ของศูนย์คุณภาพ
  3. หัวหน้าศูนย์กล่าวรับนโยบายแบ่งกลุ่ม
  4. งบประมาณและ service plain คุณอรการต์ โกยสวัสดิ์ เลขาศูนย์ นำเสนอ
  5. นายแพทย์โสมนัสพาทำ SWORD Analysis
  6. คุณพัฒนาสรุปแผนแต่ละงาน PTE งบส่งเสริมป้องกันโรค งบเขียนแต่ไม่ได้
  7. ทำโครงการ 173 ทำ 138 ppb prevent promotion basic service
ตัวชี้วัดของ รพ.ที่ไม่ผ่าน

  1. Re-admit COPD
  2. ความสำเร็จของการบริหารแผน
  3. สมรรถภาพของเจ้าหน้าที่ไม่ผ่าน คนน้ำหนักเกิน
  4. การเข้าร่วม EMS
  5. คลินิกที่ไม่ผ่าน PPH , DRUG, DM, HT , DHF รายงาน 11 คน แต่จริงๆ 400 คน
  6. Refer 5 อันดับ ผู้ป่วยใน,ผู้ป่วยนอก
  7. การตาย CA มากที่สุด , Psychosis , Mass ที่หน้าอก , Malignant

สรุปวาระการประชุมคณะกรรมการ HA /PCT
 ครั้งที่ 1/2558
วันที่ 2 มีนาคม 2558
. ห้องประชุมใหญ่โรงพยาบาลกระสัง เวลา 14.30 น.เริ่มประชุมเวลา 14.00.
วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ทราบ
1.       ชื่นชมระบบงาน PTC ที่ได้รับคะแนนสูง
2.       โรงพยาบาลได้คะแนนรวม 2.6 ผ่านในภาพรวม แต่มีหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งได้ 2 คะแนน ติด FOGUS
3.       ผลการประเมิน รพ. (เอกสารแนบท้าย)
4.       สิ่งที่ต้องทำอย่างรีบด่วนภายใน 3 เดือน
2.1. II-1.2 คุณภาพการดูแลผู้ป่วย ทีมนำทางคลินิกดำเนินการดังนี้
4.1.1     การทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยเสียชีวิต ผู้ป่วยส่งต่อ (upland Refer เวรดึก) ผู้ป่วยที่มีอาการทรุดลง(ทรุดลงใน 4 ชม.) ตั้งแต่ 1สิงหาคม 2557-31 มกราคม 2558 นำมาวิเคราะห์ให้เห็นถึง RCA
4.1.2     การทบทวนการจัดระบบ Triage  ผู้ป่วย ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกหน่วยเข้าใจระบบและสามารถปฏิบัติได้เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการประเมินและเข้ารับการบริการที่เหมาะสมทันการณ์
4.1.3     การกำหนดเกณฑ์ในการส่งต่อ/เข้ารับบริการและเกณฑ์การมาดูผู้ป่วยนอกเวลาที่สามารถปฏิบัติได้จริงเพื่อให้มีแนวทางการตัดสินที่สร้างความปลอดภัยให้คลอบคลุมกลุ่มผู้ป่วยสำคัญในหน่วยงาน ER , LR, IPD
4.2     III-4.2 การดูแลและบริการที่มีความเสี่ยงสูง
4.2.1     ควรมีการวางระบบการดูแลผู้ป่วยความเสี่ยงสูง(ผู้ป่วยสูงอายุ,ผู้ป่วยเด็ก,โดยกำหนดระบุผู้ป่วยและหัตถการที่มีความเสี่ยงสูงที่คลอบคลุมสำคัญในหน่วยการดูแลผู้ป่วย ER , LR, IPD  
4.2.2     การพัฒนาการดูแลให้สามารถค้นหาความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญ การกำหนด Early warning sing
วาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
-           
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุม
-           
วาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา
1.       เดือนแรกทบทวน Case ให้หมด เดือนที่ 2 วางนโยบายวางระบบ เดือนที่ 3 ผลลัพธ์ ของระบบ ตามหลัก 3P
2.       เริ่มการทบทวนเวชระเบียนเริ่ม 9 มีนาคม 2558
3.       ผู้ร่วมทบทวนคือแพทย์เจ้าของไข้ ประธาน PCT แพทย์ที่ปรึกษาประจำแต่ละหน่วยงานนั้น พยาบาลและผู้ที่เกี่ยวข้อง
4.       การทบทวนแต่ละครั้งให้นำ CPG มาทบทวนเพื่อหา FMEA และปรับปรุง CPG
5.       บรรยากาศการทบทวนขอไม่เครียด แต่ละ Case ไม่เกิน 15 นาที
วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ
1.       ENV ที่ต้องปรับปรุงคือการเขียนใบ IR ให้ได้ตามมาตรฐาน การนำ Risk มาทบทวนเพื่อปรับปรุงระบบ - การเช็คเครื่องมือให้ผู้ปฏิบัติเช็คด้วยความเข้าใจไม่ให้เช็คเพื่อให้มี
-   การทบทวนระบบความพร้อมใช้ของเครื่องมือช่วยชีวิต และคนที่สามารถเข้าถึงเครื่องมือได้
-   การทบทวนระบบการจัดการขยะหลังตึกผู้ป่วยใน
-   การทบทวนคัดแยกขยะในห้องคลอด
-   การทบทวนระบบการเก็บอุปกรณ์ทำความสะอาด
-   การทบทวนระบบ FA ระบบ PCT ต้องคลุมทุกระบบ วางนโยบายที่ชัดเจนการทบทวนร่วมกับ RM
-   การทบทวนระบบ RM non clinic เช่น ระบบติดตั้งกล้องวงจรปิดเพื่อป้องกันขโมยแต่ยังมีการโจรกรรมเกิดขึ้นบ่อยๆ
-   การทบทวนโรงไฟฟ้า
-   การทบทวนปรับปรุงระบบหน่วยซ่อมบำรุง
-   การทบทวนระบบคลังยาในการควบคุมอุณหภูมิและความชื้น
-   การทบทวนระบบห้องน้ำผู้พิการชำรุดและห้องน้ำผู้รับบริการไม่เพียงพอ
2.       IC จ่ายกลางและซักฟอกรอแปลนจากกองแบบแผนก่อนการปรับปรุงโครงสร้าง
-   การทบทวนระบบ First in First out และการทบทวนการตามรอยระบบ IC
-   การจัดทำ Cleaning center
-   การทบทวนการขยายห้องทันตกรรมและจัดโซนตามมาตรฐาน IC

เลิกประชุมเวลา 17.30 น.



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น